หากโหลดเวบไม่ขึ้นให้ท่านลง java runtime environment (jre6)
เราทำงาน โดยไม่มีอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานมาแล้ว :
นับจาก อุบัติเหตุครั้งล่าสุด เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2547 : เป้าหมาย ไม่เกิดอุบัติเหตุ: สถิติสูงสุด - วัน

SP07

 Download : SP07-การควบคุมการปฏิบัติ.pdf
 Download : SWI07-01-การขออนุญาตเข้าทำงานเฉพาะอย่าง.pdf 


เรื่อง  “การควบคุมการปฏิบัติ”


1. การออกกฎเพื่อความปลอดภัย
2. การสังเกตการทำงาน 
3. การตรวจสอบความปลอดภัย  
3.1 การตรวจสอบทั่วไปตามแผน
3.2 การตรวจอุปกรณ์ก่อนการใช้งาน
3.3 การตรวจสอบอุปกรณ์พิเศษ
3.4 การตรวจสอบอุปกรณ์และอาคารตามที่กฎหมายกำหนด    
3.5 การรายงานสภาพการณ์นอกแผนกำหนด
4. การอนุญาตเข้าทำงาน (Work Permit)
5. การอนุญาตควบคุมเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ (Permit to operate)
6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
7. การทบทวนวิธีการปฏิบัติงาน (Work Instruction) 
8. Lockout – Tag out  System        
    

 บันทึกจากการดำเนินงานที่ต้องจัดเก็บ

ลำดับ
รายการ
การชี้บ่ง
การจัดเก็บ
การเก็บรักษา
การทำลาย
1.
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้ากอง/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
2
เลขที่/...
เรียงตามเลขที่/...
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เมื่อมีเอกสารใหม่ทดแทน
3
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
4
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
5
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
6
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
7

เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้ากอง/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
8
เลขที่/...
เรียงตามเลขที่/...
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เมื่อมีเอกสารใหม่ทดแทน
9
เลขที่/...
เรียงตามเลขที่/...
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เมื่อมีเอกสารใหม่ทดแทน
10
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้ากอง/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
11

เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้ากอง/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
12
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
1





13
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เมื่อมีเอกสารใหม่ทดแทน
17










 ปี
2





14
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เมื่อมีเอกสารใหม่ทดแทน






24





15




16
เลขที่/...
เรียงตามเลขที่/...
หัวหน้าแผนก/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เมื่อมีเอกสารใหม่ทดแทน
17
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
18
เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้ากอง/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี










ปี
19

เลขที่/...
เรียงตามวันที่
หัวหน้ากอง/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี
3





20
เลขที่/...
เรียงตามเลขที่/...
หัวหน้างาน/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
3 ปี


 รายชื่อผู้ครอบครองเอกสาร
   รายชื่อผู้ครอบครองเอกสารรายการนี้มีการบันทึกไว้ที่ ผู้ควบคุมเอกสารตามขั้นตอนการดำเนินงาน เรื่องการจัดการด้านเอกสาร(SP15-0-12/01/2554)
เกณฑ์มาตรฐาน EGAT SMS (SP07) การควบคุมการปฏิบัติ
ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน

ผู้แทนฝ่ายบริหารหรือผู้รับผิดชอบ
การออกกฎเพื่อความปลอดภัย
รวบรวมข้อมูลด้านอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการประเมินความเสี่ยง เพื่อจัดทำกฎความปลอดภัย (คปอส.) ผ่านผู้แทนฝ่ายบริหารฯ เพื่อพิจาณาและนำเสนอผู้บริหารฯไปยังผู้บริหารสูงสุดพิจารณาอนุมัติ

ภายหลังการประเมินความเสี่ยง

กฎความปลอดภัยทั่วไป
หัวหน้าแผนก หัวหน้างานหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
รวบรวมข้อมูลด้านอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการประเมินความเสี่ยง เพื่อจัดทำกฎเฉพาะงานพื้นที่ เสนอผู้แทนฝ่ายบริหารฯ พิจาณาและนำเสนอผู้บริหารสูงสุดลงนามประกาศใช้
ภายหลังการประเมินความเสี่ยง
กฎเฉพาะงาน
ผู้ควบคุมเอกสารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
แจกจ่ายและเผยแพร่กฎความปลอดภัยทั่วไป กฎเฉพาะงาน และกฎเฉพาะพื้นที่ ไปยังทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เมื่อมีการประกาศใช้
บันทึกการแจกจ่าย หรือวิธีการเผยแพร่
หัวหน้าหน่วยงานด้านความปลอดภัยและ/จป.วิชาชีพ
รวบรวมและขึ้นทะเบียนกฎฯ
ภายหลังมีการประกาศใช้
ทะเบียนกฎฯ
ผู้บริหารระดับกลางและ/หรือระดับต้น
ควบคุมดูแลให้ผู้ปฏิบัติงานและบุคคลที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบปฏิบัติตามกฎ อย่างเคร่งครัด พร้อมกำหนดมาตรการการชมเชยผู้ปฏิบัติตามกฎและลงโทษผู้ฝ่าฝืนกฎ
เมื่อปฏิบัติงาน
มาตรการการชมเชย และ ลงโทษ
ผู้บริหารระดับต้น
อธิบาย/ชี้แจงกฎที่ออกใหม่หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง และทบทวนกฎต่างๆ ให้กับผู้ปฏิบัติงานให้ทราบและความเข้าใจ
ภายหลังมีการประกาศใช้

ผู้ปฏิบัติงาน
ปฏิบัติตามกฎฯอย่างเคร่งครัดเสนอปรับปรุงแก้ไขและลงนามในใบรับทราบกฎ
เมื่อปฏิบัติงาน
SF07-01
SF07-02
จป.อปล../จป.หน่วยงาน
ดำเนินการทบทวนกฎต่างๆ อย่างน้อยปีละครั้ง หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างน้อยปีล่ะ ครั้ง หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง





ผลการทบทวนกฎ
ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน/แบบฟอร์ม

หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

การสังเกตุการทำงาน
แต่งตั้งผู้ที่รับผิดชอบในการเป็นผู้สังเกตการทำงานในหน่วยงาน คัดเลือกงานและกำหนดความถี่ที่จะสังเกตการทำงานจากความเสี่ยงปานกลางขึ้นไป งานที่เคยเกิดอุบัติเหตุ งานใหม่งานของผู้ปฏิบัติงานใหม่หรือหลังการอบรม เสนอผู้แทนฝ่ายบริหารฯ

เมื่อเริ่มดำเนินการและประจำทุกปี

บันทึก/คำสั่งแต่งตั้งผู้สังเกตการทำงาน
ผู้แทนฝ่ายบริหารฯหรือผู้ช่วยแทนฝ่ายบริหารประจำโครงการ
จัดอบรมให้ผู้สังเกตการทำงานได้ทราบถึงเทคนิคการสังเกตการทำงาน
เมื่อเริ่มดำเนินการ
ประวัติผู้เข้ารับการอบรม
ผู้สังเกตที่ผ่านการอบรม
สังเกตการทำงานแบบเป็นส่วนหรือจุดหรือแบบสมบูรณ์ ในงานที่มีความเสียงปานกลางขึ้นไป งานที่เคยเกิดอุบัติเหตุ งานใหม่ งานของผู้ปฏิบัติงานใหม่ หรือหลังการอบรมว่าผู้ปฏิบัติงานได้ปฏิบัติสอดคล้องตามขั้นตอนการดำเนินงาน หรือกฎความปลอดภัยต่างๆ โดยใช้แบบ SF07-03 และรายงานผลต่อกองหรือแผนก
เมื่อปฏิบัติงาน
SF07-03


หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

เมื่อมีการดำเนินงานที่ไม่สอดคล้อง ให้ดำเนินการตาม SP13

ภายหลังการสังเกตการทำงาน
SP13-01,02
สรุปผลการดำเนินงาน เรื่องการสังเกตการทำงานเสนอฝ่ายบริหาร



ภายหลังการสังเกตการทำงาน
สรุปผลการดำเนินงาน

หัวหน้าแผนก หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย



การตรวจสอบแบบทั่วไปตามแผน
สำรวจและวิเคราะห์พื้นที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ ที่ต้องมีการตรวจสอบทั่วไปตามแผน จัดทำบัญชีรายการ กำหนดผู้ตรวจสอบ และความถี่ โดย-ใช้ สำหรับความถี่ในการตรวจสอบให้พิจารณาจากความเสี่ยงของพื้นที่ เครื่องจักร อุปกรณ์


อย่างน้อยไม่เกิน 2เดือนต่อครั้ง และทบทวนบัญชีรายการให้ทันสมัยอยู่เสมออย่างน้อยปีละครั้ง





ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน/แบบฟอร์ม
หัวหน้าแผนก หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
จัดทำแบบตรวจสอบ (Check list) ให้สอดคล้องกับสิ่งที่จำเป็นต้องตรวจสอบสำหรับ พื้นที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ และมีรายละเอียดสอดคล้องตามกฎหมายกำหนด
เมื่อเริ่มดำเนินการ
แบบตรวจ
SF07-04-SF07-13

ส่งผู้ตรวจสอบเข้ารับการอบรมหลักสูตรเทคนิคการตรวจสอบทั่วไปตามแผน
เมื่อเริ่มดำเนินการ
ประวัติผู้เข้ารับการอบรม
ผู้ตรวจสอบ
ดำเนินการตรวจสอบ ตามพื้นที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ที่รับผิดชอบและความถี่ที่กำหนดโดยใช้แบบตรวจ(Check list) ที่จัดทำขึ้นหรือตามแบบที่กฎหมายกำหนด กรณีตรวจสอบพบสิ่งที่ต่ำกว่ามาตรฐานให้ดำเนินการตาม
ตามวาระกำหนด
แบบตรวจสอบ SP13-01,02




หัวหน้าแผนก หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย





การตรวจสอบอุปกรณ์ก่อนใช้งาน
สำรวจและวิเคราะห์อุปกณ์ เครื่องจักรยานพาหนะฯลฯ ที่ต้องตรวจก่อนใช้งานพร้อมจัดทำบัญชีรายการ กำหนดผู้ตรวจสอบ โดยใช้แบบ

ทบทวนทวนบัญชีรายการให้ทันสมัยหรืออย่างน้อยปีละครั้ง

SF07-04
SF07-14-SF07-18

จัดทำแบบตรวจ (Check list) ให้สอดคล้องกับสิ่งที่จำเป็นต้องตรวจสอบสำหรับ อุปกรณ์ เครื่องจักร ยานพาหนะฯลฯ และมีรายละเอียดสอดคล้องตามกฎหมายกำหนด (ถ้ามี) กรณี ยานพาหนะโดยสาร/เครื่องจักรทุ่นแรง ให้ใช้
เมื่อเริ่มดำเนินการ

พัฒนาผู้ตรวจสอบให้มีความรู้ ความสามารถในการตรวจสอบได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
เมื่อเริ่มดำเนินการ

ผู้ตรวจสอบ/ผู้ใช้งาน
ดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์ก่อนใช้งานโดยใช้แบบตรวจสอบ (Check list) ที่ได้จัดทำขึ้น หรือแบบที่กฎหมายกำหนด (ถ้ามี) กรณีตรวจพบสิ่งที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ให้ดำเนินการตามSP13
เมื่อเริ่มดำเนินการ
SP13-01,02

หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

การตรวจสอบอุปกรณ์พิเศษ
สำรวจและทบทวนอุปกรณ์เครื่องจักรและอุปกรณ์ทั้งหมด เพื่อระบุว่าอุปกรณ์เครื่องจักรและเครื่องมืออะไรบ้างที่มีหน้าที่ในการป้องกันในการตรวจจับ แจ้งเหตุ และการจัดการต่อสิ่งอันตรายต่อความปลอดภัย




เมื่อเริ่มดำเนินการ


ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน/แบบฟอร์ม
หัวหน้าแผนก หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย




ผู้รับผิดชอบ พ.ท./อาคาร เมื่อได้ระบุว่าอุปกรณ์เครื่องจักรและเครื่องมือมีอะไรบ้างตามแบบฟอร์มมีใน พ.ท./อาคารที่รับผิดชอบให้พิจารณากำหนด
-   ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบ
-   กำหนดความถี่ในการตรวจสอบ
-   จัดให้มีการตรวจสอบตามความถี่ที่กำหนโดยจัดทำเป็นแผนงานการตรวจสอบระบบพิเศษประจำปีงบประมาณ (ม.ค.-ธ.ค.)



เมื่อเริ่มดำเนินการ


SF07-04-SF07-21
หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
จัดให้ผู้รับผิดชอบ พ.ท./อาคารรายงานผลการตรวจสอบระบบพิเศษ อุปกรณ์เครื่องจักรและเครื่องมือทั้งหมดที่มีใน พ.ท./อาคารที่รับผิดชอบรวมทั้งรายงานผลการแก้ไข(ถ้ามี) กรณีตรวจพบสิ่งที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ให้ดำเนินการตาม

ทุก 6 เดือน
SP13


หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ตรวจสอบอุปกรณ์และอาคารตามที่กฎหมายกำหนด
ในกรณีที่หน่วยงานมีปั้นจั่น ให้ผู้บริหารสูงสุดประจำหน่วยงานดำเนินการให้มีวิศวกรเครื่องกลตรวจสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั่นจั่นชนิดอยู่กับที่และชนิดเคลื่อนที่อย่างน้อยทุกเดือน โดยใช้แบบ คป.1และ/หรือ คป.2 ตามที่กฎหมาย
ทุก 3เดือน
เก็บผลไว้ที่หน่วยงานและผู้ตรวจสอบ
แบบ คป.1และ/หรือ คป.2ตามที่กฎหมายกำหนดตามลำดับ
หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ให้ผู้บริหารสูงสุดประจำหน่วยงานดำเนินการให้มีวิศวกรไฟฟ้าทำการตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้าในหน่วยงานโดยทำการตรวจสอบตามเอกสารรับรองความปลอดภัยของระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้า ทุก ปี และเก็บผลไว้ที่หน่วยงานและผู้ตรวจสอบ
ทุก ปี


หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ให้ผู้บริหารสูงสุดประจำหน่วยงานดำเนินการให้มีผู้ตรวจสอบทำการตรวจสอบถังดับเพลิงในหน่วยงานอย่างน้อยทุก เดือน และเก็บผลไว้ที่หน่วยงานและผู้ตรวจสอบ







ทุก เดือน

ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน/แบบฟอร์ม

ผู้อำนวยการฝ่าย/หัวหน้ากอง

รายงานสภาพการณ์นอกแผนกำหนด
ทำบันทึกประกาศแจ้งผู้บริหารทุกระดับทราบและถือปฏิบัติเมือพบเห็นสภาพที่ต่ำกว่ามาตรฐานซึ่งจะก่อให้เกิดอันตราย
ผู้ปฏิบัติงานสามารถทำได้ 2วิธี
  1 เขียนรายงานที่ต่ำกว่ามาตรฐานหรือที่เป็นอันตรายที่สังเกตพบในแต่ละวัน
   2.รายงานต่อหัวหน้างานเขียนรายงาน
หัวหน้ากองชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติงานทราบและติดตามกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนรายงานเมื่อพบเห็นสภาพการที่ต่ำกว่ามาตรฐานหรือที่เป็นอันตรายที่สังเกตพบใดๆในแต่ละวันให้หัวหน้ากองเพิ่มแรงจูงใจโดยทำหนังสือขอบคุณหรือชมเชยในรายงานดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียได้


SF07-22

การอนุญาตเข้าทำงาน(Work Permit)


หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
นำข้อมูลจากการประเมินความเสี่ยง หรือจากการทบทวนกฎหมาย    มาจัดทำบัญชีรายการงาน/พื้นที่ ที่จำเป็นต้องมีการใช้ใบอนุญาตเข้าทำงานเฉพาะอย่างแต่ละชนิด


SF07-23-SF07-29
หัวหน้าหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องแต่งตั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับใบอนุญาต เช่น ผู้อนุญาต ผู้ขออนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ที่สามารถสั่งหยุดงานได้ในกรณีจำเป็น เป็นลายลักษณ์อักษร


ผู้ปฏิบัติงาน
การกรอกข้อความ การยื่นใบขออนุญาตเข้าทำงาน การกำหนดระยะเวลาในการอนุญาต การอนุญาต การสั่งหยุดงาน การปิดใบอนุญาตฯ ให้ใช้ใบขออนุญาตเข้าทำงานเฉพาะอย่าง  ตามวิธีปฏิบัติงานเรื่องการขออนุญาตเข้าทำงานเฉพาะอย่าง (SWI07-01)







(SF07-24)

ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน/แบบฟอร์ม


หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
การอนุญาตควบคุมเครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ์
(Permit to operate)
สำรวจและวิเคราะห์เครื่องจักร อุปกรณ์ ยานพาหนะ ลักษณะงานที่มีความเสี่ยงสูง ต้องใช้ผู้ที่มีความชำนาญเฉพาะ ที่จะต้องได้รับใบอนุญาต โดยคำนึงถึงความสูญเสียของเครื่องจักร อุปกรณ์ ยานพาหนะ บุคคล หากเกิดข้อผิดพลาดขึ้นและข้อกำหนดของกฎหมายที่กำหนดไว้ และดำเนินการจัดทำแบบบัญชีแยกประเภทเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ ลักษณะงานที่มีความเสี่ยงสูง  พร้อมแยกประเภทให้ชัดเจนและทบทวนบัญชีรายการให้ทันสมัยอยู่เสมอ หรือ


อย่างน้อยปีละครั้ง



SF07-20
หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
จัดทำใบอนุญาต ที่มีการกำหนดหมดอายุไว้อย่างชัดเจนตามรายชื่อที่กำหนดไว้ในบัญชีแยกประเภทเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ ลักษณะงานที่มีความเสี่ยงสูง และนำเสนอผู้บริหารระดับฝ่ายพิจารณาลงนาม ยกเว้นในกรณีที่ กฟผเป็นผู้ออกใบอนุญาต ให้ดำเนินการตามระเบียบ กฟผ.


หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ดำเนินการแจกจ่ายใบอนุญาตให้แก่ผู้ที่ได้รับอนุญาตและควบคุมให้มีการปฏิบัติโดยผู้ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น หากพบข้อบกพร่องให้ดำเนินการตามขั้นตอนการดำเนินงานเรื่อง การแก้ไขและการป้องกัน

SP13
หัวหน้ากอง/หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ติดตามใบอนุญาตที่หมดอายุพร้อมพิจารณานำเสนอให้มีการจัดทำใหม่ตามความจำเป็นที่จะด้องใช้งานต่อไป




หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
รวบรวมรายการอุปกรณ์เครื่องจักร/ยานพาหนะ/ระบบต่างๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ (อุปกรณ์ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินและอุปกรณ์ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบำรุงรักษา) และพิจารณาวิเคราะห์รายการดังกล่าวว่ามีความจำเป็นต้องทำ PM หรือไม่ให้จัดลำดับความสำคัญของอุปกรณ์ระบบต่างๆเป็น 3ระดับ A,B,C



จัดทำบัญชีอุปกรณ์ ระบบต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบว่าจำเป็นจะต้อง PM
ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน/แบบฟอร์ม
หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ดำเนินการกำหนดมาตรฐานระดับความสำคัญ (ระดับA,B,C) กำหนดมาตรฐานวาระการทำ PM (3 เดือน/ครั้ง , 6เดือน / ครั้ง , 1 ปี ครั้ง , 2ปี/ครั้งกำหนดมาตรฐานขั้นตอนการทำ PM (แบบฟอร์มPM)  แต่ละอุปกรณ์ ระบบ และกำหนดผู้รับผิดชอบและใส่ข้อมูล

SF07-30
หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

 หัวหน้าแผนก  ผู้รับผิดชอบพิจารณาบัญชีรายการอุปกรณ์ ระบบต่าง ๆ และพิจารณา   จัดทำแผนงานบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (PM PLAN) ประจำปีงบประมาณ
  ประเมินผลการดำเนินการ PMโดยประเมินอุปกรณ์ ระบบต่าง ๆ ที่เกิดความเสียหายจากการใช้งานตามปกติกับความเสียหายที่เกิดจากอุบัติเหตุก่อน PM หรือขณะPM เพื่อประเมินประสิทธิผล ระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
ดำเนินการปีละครั้ง
 (เดือน ม.ค.ของทุกปี)

ทุก 6 เดือน
จัดทำ PM PLAN




SF07-31
หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ให้หัวหน้าแผนกหรือผู้รับผิดชอบ  ดำเนินการทบทวนวิเคราะห์และปรับปรุง PM PLAN  ปีละครั้ง (เดือน ม.ค. ของทุกปีโดยพิจารณาจากการประเมินผล ประสิทธิผลของการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน จากความเสียหายของอุปกรณ์ /ระบบต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้งานตามปกติ  กับความเสียหายที่เกิดจากอุบัติเหตุก่อน PMหรือขณะ PM เพื่อประเมินประสิทธิภาพ  การกำหนดวิธีการและขั้นตอนการทำ PM  การกำหนดวาระการทำ  PM และประสิทธิภาพของผู้ปฏิบัติงานที่ทำ PM ว่าเหมาะสม  ควรปรับปรุงในปีต่อไปหรือไม่  (ถ้ามี) กรณีตรวจพบสิ่งที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ให้ดำเนินการตาม SP13








อย่างน้อยปีล่ะ ครั้ง
SF07-32
ผู้รับผิดชอบ
กิจกรรม
ระยะเวลา
หลักฐาน/แบบฟอร์ม


หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

การทบทวนวิธีปฏิบัติงาน(Work Induction)
 ดำเนินการทบทวนเอกสารวิธีการปฏิบัติงาน Work Instruction (WI) ในงานที่มีความเสี่ยงระดับปานกลางขึ้นไปที่มีใช้ในหน่วยงานทันทีเมื่อมีอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์หวุดหวิดที่มีศักยภาพความสูญเสียสูงเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน และ/หรือเมื่อทราบว่า WI ที่ใช้ในการอ้างอิงการปฏิบัติงาน มีความไม่ถูกต้อง


ปีละ ครั้ง

หัวหน้าแผนกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

 ใช้ WI สำหรับอ้างอิงการปฏิบัติงาน ในงานที่มีระดับความเสี่ยงต่ำกว่าระดับปานกลาง ให้ดำเนินการพิจารณาทบทวนเอกสาร WI ทันทีเมื่อมีอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์หวุดหวิดที่มีศักยภาพความสูญเสียสูงเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน และ/หรือเมื่อทราบว่า WI ที่ใช้ในการอ้างอิงการปฏิบัติงาน มีความไม่ถูกต้องหรือในกรณีไม่เกิดอุบัติการณ์ใดๆให้หน่วยงานพิจารณาตามที่หน่วยงานเห็นว่าเหมาะสม
ทบทวนทวนWI ทันทีเมื่อมีอุบัติเหตุหรือเหตุการณ์หวุดหวิด
SWI07

การแก้ไข WI ให้ดำเนินการขอแก้ไขเอกสารตามขั้นตอนการดำเนินงาน เรื่องการจัดการด้านเอกสาร (SP15)


ดำเนินการตามระเบียบของ กฟผ... 2548
Lockout-Tag ou system
ดำเนินการตามระเบียบของ กฟผว่าด้วยข้อกำหนดการแขวนป้ายเพื่อความปลอดภัย พ.. 2548


หัวหน้าหน่วยงาน
ต้องควบคุมการดำเนินการให้เป็นไปตามวิธีปฏิบัติงานที่กำหนด หากพบว่ามีการปฏิบัติไม่สอดคล้อง ให้ดำเนินการตามขั้นตอนการดำเนินงาน เรื่องการแก้ไขและการป้องกัน)


SP13




ใบบันทึกรายชื่อผู้ครอบครองเอกสาร

ในระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน หน่วยงาน กคล-ส.



 ชื่อเอกสาร การควบคุมการปฏิบัติ             รหัสเอกสาร  SP07-0-12/01/2554
 วัน เดือน ปีที่บันทึก   12/01/2554       ผู้บันทึก นางสุภัทรา(เลขาฯ คณะทำงานด้านความปลอดภัย)

ลำดับ – ชื่อตำแหน่งงาน/ชื่อบุคคล
สำเนาที่
สถานที่ใช้งาน
ลงชื่อผู้รับเอกสาร
เลขาฯ คณะทำงานด้านความปลอดภัย/นางสุภัทรา ถวิลการ










         0
   กคล-ส.




นางสุภัทรา ถวิลการ




SF15-03-0-12/01/2554

(หน้า 1/1)
ฝ่ายปฏิบัติการเขตนครหลวง